ความน่ากลัวในการเป็นนักกีฬาเกาหลีเหนือ

การเป็นประชากรสำหรับเกาหลีเหนือนั้นก็ถือว่าเป็นเรื่องที่น่ากลัวสำหรับการดำเนินชีวิตของผู้คนในเก่หลีเหนือแล้ว แต่สิ่งที่น่ากลัวกว่าการเป็นประชากรทั่วไปก็คือการได้เป็นนักกีฬาถึงหลายๆคนอาจจะมองว่ามันคือโอกาสในการที่จะเจริญเติบโตได้แต่ในความเป็นจริงแล้วนั้นการเป็นนักกีฬาของเกาหลีเหนือไม่ได้มีเส้นทางที่สวยงาม

และโรยด้วยกลีบกุหลาบถึงแม้ว่าผู้คนที่ได้รับการคัดเลือกให้มาเป็นนักกีฬาภายใต้ระบบการแบ่งชนชั้นแบบซองบุนก็ตามที่ว่าคนที่จะสามารถเข้าเป็นส่วนหนึ่งในวงการกีฬาเกาหลีเหนือได้นั้นจะต้องเป็นคนชนชั้นสูงก็ตามแต่เมื่อเป็นนักกีฬาแล้วนั้นจะต้องทำหน้าที่ของตัวเองให้ดีที่สุดด้วยเช่นกัน

เพราะการเป็นนักกีฬาในประเทศเกาหลีนั้นก็คล้ายกับการรับใช้ชาติและสร้างชื่อเสียงให้กับประเทศชาตินั่นเองดังนั้นแล้ว้มื่อนักกีฬานั้นไม่สามารถที่จะสร้างชื่อเสียงให้ประเมศชาติในด้านที่ดีได้นักกีฬาจึงจะต้องได้รับกับบทลงโทษที่เกาหลีเหนือนั้นได้ตั้งกฎไว้นั่นเอง ซึ่งกฎนี้นั้นก็มีการใช้สือบต่อกันมาและถือว่าเป็นประเด็นที่มักถูกหยิบยกขึ้นมาพูดอยู่บ่อยๆสำหรับวงการกีฬาของเกาหลีเหนือที่ว่าถ้าหากไม่สามารถสร้างชื่อเสียงในการแข่งขันได้หรือทีมนั้นได้รับผลกับความพ่ายแพ้ในการแข่งขันผู้ที่มีส่วนและมีความผิดที่สุดนั่นก็คือผู้ฝึกฝนหรือโค้ชบุคคลนั้น

ถือว่าเป็นบุคคลที่จะได้รับการลงโทษอย่างสูงสุด ซึ่งในอดีตนั้นกล่าวกันว่า สำไหรับนักกีฬาและผู้ฝึฝนนักกีฬานั้นถ้าหากสร้างชื่อเสียงหรือชนะไม่ได้นั้นก็จะโดนลงโทษด้วยการลดชนชั้นวรรณะและไปทำงานที่หนักและยากลำบากอย่างการขุดเหมืองด้วยนั่นเอง ถึงแม้ว่าจะไม่ได้มีการยืนยันอย่างชัดเจนว่าเป็นความจริงหรือไม่

แต่อย่างที่เรานั้นทราบกันดีอยู่แล้วสำหรับกฏหมายและบทลงโทษที่ท่านผู้นำนั้นสร้างขึ้นมาเป็นสิ่งที่ค่อนข้างจะเด็ดขาดอย่างมาก ทำให้หลายๆฝ่ายมองว่าสิ่งเหล่านี้น่าจะเป็นความจริงและนักกีฬาและทีมงานนักกีฬาที่แข่งขันแล้วพ่ายแพ้นั้นก็จะต้องเผชิญกับความยากลำบากนั้นมีความเป็นจริงที่สูงมากและสิ่งเหล่านี้ก็ถูดอ้างอิงมาจากหนังสือ The Aquarium Of Pyongyang และเป้นเรื่องราวที่ถูกเล่าจากในอดีตที่เกิดขึ้นในปี 1966

แต่ในปัจจุบันนี้นั้นในการพ่ายแพ้ในการแข่งขันกีฬาสำหรับนักกีฬาและผู้เกี่ยวข้องในการแข่งขันกีฬานั้นอาจจะไม่ได้มีบทลงโทษที่รุนแรงเท่ากับในสมัยก่อนแล้วเพราะในการแข่งขันฟุตบอลโลกในปี 2010 ที่ผ่านมานั้นนักเตะเกาหลีเหนือหลายคนก็กลับมาติดทีมชาติเกาหลีเหนืออีกครั้งและก็มีนักเตะเกาหลีเหนืออย่าง

รีกวางชอนนั้นก็ได้รับโอกาสในการเดินทางมาค้าแข่งกับสโมสรฟุตบอลยักษ์ใหญ่ของไทยอย่าง SCG เมืองทองยูไนเต็ด ดังนั้นมองได้ว่าบทลงโทษในการเป็นนักกีฬาที่พ่ายแพ้ของเกาหลีเหนือนั้นอาจจะไม่ได้มีความรุนแรงและโหดร้ายเท่ากับในยุคก่อนแล้วนั่นเอง

 

สนับสนุนโดย.    สมัคร gclub ไม่มีขั้นต่ำ